วันอาทิตย์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 2

วิชา การจัดประสบการณ์ศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน   ว่าที่ ร.ต.กฤตธ์ตฤณน์  ตุ๊หมาด
ประจำวัน  พฤหัสบดีที่  21   มกราคม  2559
  เวลา   08.30 - 13.30 น.
กลุ่ม 102   ห้อง  

Learning  ( เนื้อหาที่เรียน )

1.ทฤษฎีเกี่ยวกับศิลปะ
2.พัฒนาการศิลปะ
3.พัฒนาการด้านร่างกาย
4.ทำกิจกรรมมือน้อยสร้างสรรค์  
  
 





Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ) 
1.ทฤษฎีพัฒนาการ ของ Lowenfeld
1.2.ทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ 
   1.2.1ทฤษฎีโครงสร้างทางสติปัญญาของกิลฟอร์ด
        -เน้นความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา และการมีเหตุผล
        -มองความสามารถเป็น 3 มิติ คือ เนื้อหา, วิธีคิด และ ผลของความคิด
*ทำให้ทราบความสามารถของสมองที่แตกต่างกันถึง 120 ตามโครงสร้างทางปัญญา 3 มิติรวมความสามารถด้านความคิดสร้างสรรค์ด้วย คือ วิธีการคิดแบบเอกนัย เป็นการคิดหลายทิศทาง
   1.2.2ทฤษฎีความรู้สมองสองลัีกษณะ (สมองสองซีก)
        -กำลังได้รับความสนใจ เป็นการทำงานของสมอง
        -ซีกซ้าย คิดเหตุผล ควบคุมสั่งการร่างกายด้านขวา
        -ซีกขาว ความคิดสร้างสรรค์ ควบคุมสั่งการร่างกายด้านซ้าย
*แพทย์หญิง กมลวรรณ ชีวะพันธุ์ กล่าวว่า สมองซีกขวาเป็นส่วนของจินตนาการ ความคิดสรา้งสรรค์ สามารถพัฒนาได้มากช่วงอายุ 4-7 ปี ส่วนซีกซ้าย เป็นส่วนการคิดเหตุผลจะพัฒนาในช่วงอายุ 9-12 ปีและสมองจะเจริญเติบโตเต็มที่ช่วงอายุ 14-13ปี
   1.2.3ทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์ของ ทอร์เเรนซ์ (Torrance)
        -แบ่งความคิดสร้างสรรค์เป็น 5 ขั้น ได้แก่ 1.ขั้นค้นพบความจริง 2.ขั้นค้นพบปัญหา
3.ขั้นการตั้งสมมติฐาน 4.ขั้นค้นพบคำตอบ 5.ขั้นยอมรับผลของคำตอบ
*ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการของความรู้สึกที่ไวต่อปัญหา และเกืดความพยายามในการสร้างความคิด ตั้งสมมติฐาน
   1.2.4ทฤษฎีพุปัญญา การ์ดเนอร์ (Gardner)
        -แบ่งเป็น 9 ด้าน  ได้แก่
              1. ความฉลาดทางด้านภาษา (Linguistic intelligence) 
             2. ความฉลาดทางด้านตรรกะ (Logical-mathematic intelligence)  
              3. ความฉลาดทางด้านดนตรี (Musical intelligence)
              4. ความฉลาดทางด้านมิติ (Spatial intelligence) 
              5. ความฉลาดทางด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย (Bodily-kinesthetic intelligence) 
              6. ความฉลาดในการเป็นผู้นำ (Interpersonal intelligence)
              7. ความฉลาดภายในตน (Intrapersonal intelligence)
              8. ความฉลาดทางด้านธรรมชาติ (Naturalist intelligence)  
              9. ความฉลาดในการคิดใคร่ครวญ (Existential intelligence)
 *ในทุกๆด้านเรามีเท่ากันหมดแต่จะมีมากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับการพัฒนาและการส่งเสริม
    
      1.2.5ทฤษฎีโอตา (Auta)
        -แบ่งเป็น 4 ขั้น

2.พัฒนาการศิลปะ
   วงจรการขีดๆ เขียนๆ 
-เคลลอก (kelloge) แบ่งเป็น 4 ขั้น
     1.ขีดเขี่ย ช่วง 2 ขวบ
     2.เขียนเป็นรูปรา่ง ช่วง 3 ขวบ วาดวงกลมได้
     3.รู้จักออกแบบ ช่วง 4 ขวบ วาดรูปสี่เหลี่ยมได้
     4.การวาดเเสดงความเห็นกับภาพได้ ช่วง 5 ขวบ วาด 3เหลี่ยมได้

3.พัฒนาการด้านร่างกาย
 กีเซลล์และคอร์บิน สรุป พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวตามลักษณะพฤติกรรมการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก-มัดใหญ่ ดังนี้
 -การตัด  อายุ 3-4 ปี ตัดเป็นชิ้นส่วนได้
                      4-5 ปี ตัดเป็นเส้นตรงได้
                      5-6 ปี ตัดตามเส้นโค้ง, รูปทรงต่างๆ
-การขีดเขียน อายุ 3-4 วาด วงกลมได้
                      4-5 วาดสี่เหลี่ยมได้
                      5-6 วาดสามเหลี่ยมได้
-การพับ  อายุ 3-4 พับเเละรีดสันกระดาษ 2 ทบตามแบบ
                      4-5 พับและรีดสันกระดาษ 3 ทบตามเเบบ
                      5-6 พับเเละรีดสันกระดาษได้คล่อง หลายแบบ
-การวาด  อายุ  3-4 วาดคน มีหัว ตา ปาก ขา
                      4-5 วาดคนมี หัว ตา ปาก ขา จมูกลำตัว เท้า
                      5-6 วาดรายละเอียดเยอะขึ้น

Skills ( ทักษะที่ได้ )

-ทักษศิลปะ การวาดรูป ระบายสี 
-ทักษะจินตนาการ

Teaching Techniques ( เทคนิคการสอน )
-power point
-สื่อการเรียนการสอน แบบวาดรูป
  
Applications in Life ( การนำไปประยุกต์ใช้ )

      สามารถนำหลักการณ์และทฤษฎีต่างๆไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับพัฒนาการและช่วงวัยของเด็กและเทคนิคการถ่ายทอดความคิดริเริ่มหรือจุดคิดของความคิดสร้างสรรค์ และการสอนการเรียนรู้ศิปะที่สามารถนำทุกส่วนของร่างกายมาปรับใช้ในวิชาศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย

Evaluation ( การประเมิน )

Teacher      แต่งกายสุภาพ เข้าสอนตรงเวลาใช้เทคนิคการนำเข้าสู่บทเรียนที่ดี มีการใช้สื่อที่เหมาะสม
students     แต่งกายสุภาพ ตั้งใจเรียน มีการช่วยอาจารย์ถือของหรือขนของมาเรียน
classroom  สะอาด เเละเอื้ออำนวยต่อการทำกิจจกรรม บรรยากาศหน้าเรียน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น